Today, mobile devices are used for more than just making a phone call, and, thankfully, most casino websites have been designed to be playable on these devices. These include Visa and MasterCard debit, credit, and prepaid cards, as well as a wide range of e-wallets, including Skrill, Paysafecard and Neteller. Players can enjoy regular monthly… Continue reading Install PinUp app 💰 Offers free spin 💰 Big games catalog
Mərc tələblərini yerinə yetirən bütün oyunçular Starburst-da 100 pulsuz fırlanma qazanacaqlar. alov kazinosunda təklif olunan bu pulsuz fırlanmalara bir qədər şübhə ilə yanaşdıq. Oyun Twix onlayn kazinosunun təklif etdiyi oyuna bənzəyir, ona görə də bəzi şikayətlər gözləyirdik. Kanada əsaslı onlayn kazinolar tərəfindən təklif olunan ən yaxşı bonusları axtaran alov oyunçuları bu kazino baxışı ilə yaxşı… Continue reading alov Etibarlı Live Casino — Giriş ünvanı 2023
Whether you want to bet on football, cricket, tennis, golf, ice hockey, rugby, American football or just about anything else, you can find it all at the Spin Sports section. So, whether you’re playing on your phone or tablet or your laptop, spinning the reels on Pin Up Casino is just as easy as it… Continue reading Online Pin Up Casino Online
When you do, as long as it is after 48 hours, Kometa Casino Casino will handle your withdrawal request, and your winnings will be credited to your casino account. Start your adventure at Kometa Casino Casino today, and enjoy playing with the confidence that Kometa Casino Casino is here to help you every step of… Continue reading Kometa Casino Live Casino 💰 Bonuses for new players 💰 Weekly Free Spins
ชวนน้อง ๆ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร่วมปลูกฝัน ปั้นนวัตกรน้อย ด้านเกษตรอัจฉริยะ ร่วมส่งโครงการการประยุกต์ใช้ระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense) ในโรงเรี กรณ์ HandySense ครบชุด และทุนการพัฒนาโครงการมูลค่ารวมกว่า 20,000 บาท ในโครงการส่งเสริมสวนเกษตรอัจฉริยะในโรงเรียนยุคปกติใหม่ (New Normal) หลักการและเหตุผล รศ.มาลี บุญศิริพันธ์ ณะกรรมการบัญญัติศัพท์นิเทศศาสตร์ราชบัณฑิตยสภา ได้ระบุว่าราชบัณฑิตยสภาได้บัญญัติศัพท์ “New Normal” หมายถึงความปกติใหม่ , ฐานวิถีชีวิตใหม่ หมายถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจากอดีตอันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบ จนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคยคาดหมายล่วงหน้าได้ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ ีไุ่นเคย รูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้ ประกอบด้วยวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติและการจัดการ การใช้ชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้นหลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงและรุนแรงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้มนุษย์ต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับสถานการณ์ปัจจุบันมากกว่าจะธำรงรักษาวิถีดั้งเดิมหรือหวนหาถึงอดีต สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด-19 หรือโคโรนาไวรัส ่วปลย พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2563 ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนแพร่กระจายไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ผู้คนเจ็บป่วยและล้มตายจำนวนมาก จนกลายเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงอีกครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ… Continue reading ปลูกฝัน ปั้นนวัตกรน้อย ด้านเกษตรอัจฉริยะ ! เปิดรับสมัครโครงการการประยุกต์ใช้ระบบ HandySense ในโรงเรียน ชิงรางวัลกว่า 20,000 บาท
คุณกิตติ สิงหาปัดพิธีกรชื่อดังจาก”ข่าว 3 มิติ”ช่อง 3 เยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน Smile Lemon เน้นเรื่องHandySense เกษตรอัจฉริยะ โดยมีคุณนริชพันธ์ เป็นผลดี เจ้าของผลงานวิจัย เป็นผู้ให้ข้อมูลและยังให้ความสนใจฐานเรียนรู้ต่างๆ ของศูนย์ฯ.. ทุกคนสามารถเข้าถึงระบบการให้น้ำอัจฉริยะได้ง่าย ประหยัดและรวดเร็ว.. #HandySense #NECTEC
ดร.พนิตา พงษ์ไพบูลย์ รองผู้อำนวยการเนคเทค สวทช. ได้เล่าถึงการเปิดตัว HandySense Open Innovation เพื่อมอบพิมพ์เขียวต้นแบบงานวิจัยให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้สนใจ นำไปผลิตหรือจำหน่าย ภายใต้แนวคิด Smart Farmimg Open Innovation ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่เปิดเผยรายละเอียดการผลิต โดยไม่คิดค่า License หรือ ค่าใช้จ่ายใด ๆ โดยคาดหวังให้เกษตรกรไทยยุคใหม่ มีเครื่องมือด้านการเกษตรที่ทันสมัย ในราคาจับต้องได้ และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือด้าน Smart Farm โดยคนไทยต่อไป โดยการสัมมนาในครั้งนี้ได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐ เอกชน ภาคเกษตรกรที่มีบทบาทในการส่งเสริมเทคโนโลยี รวมถึงมุมมองของนักวิจัยและพัฒนา ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองในการต่อยอดพิมพ์เขียว HandySense ให้มีการใช้งานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนทั้ง ไม่เฉพาะในบริบทด้านการเกษตรเท่านั้น แต่รวมไปถึงด้านการประมง และปศุสัตว์ อีกด้วย การสัมมนาในวันนี้ได้พูดคุยถึงความต้องการของภาคเกษตรที่ไม่ได้ต้องการเทคโนโลยีที่ล้ำสมัย แต่ต้องการนวัตกรรมที่ใช้งานง่าย ใช้ได้จริง แนวทางและโอกาสเติบโตทางธุรกิจด้าน Smart Farm ของผู้ประกอบการ แนวทางการสนับสนุนด้านอินเทอร์เน็ตในราคาเหมาะสมของผู้ให้บริการเครือข่าย นโยบายของท้องถิ่นได้เข้ามาสนับสนุนการนำ HandySense ไปใช้งานในวงกว้าง รวมไปถึงมุมมองการพัฒนาความสามารถของ HandySense ให้ตอบโจทย์การใช้งานของเกษตรในอนาคต… Continue reading “ต่อยอด ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน ! แนวทางการพัฒนา HandySense” ในสัมมนา “เทคโนโลยีแบบเปิดเพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนด้วยนวัตกรรมระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)” ภายในงานประชุมวิชาการประจำปี สวทช.ครั้งที่ 16 (NAC2021) แบบออนไลน์ ในวันที่ 29 มีนาคม 64
เทคโนโลยีแบบเปิดเพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนด้วยนวัตกรรมระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense) ระบบเกษตรอัจฉริยะ (Handy Sense) เป็นระบบเกษตรแม่นยำโดยการนำเทคโนโลยีเซนเซอร์ผนวกกับอุปกรณ์ไอโอที (Internet of Thing) สู่อุปกรณ์ตรวจวัดและควบคุมสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของพืชตั้งแต่การปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยว ได้แก่ การให้น้ำ ปุ๋ย การป้องกันแมลง รวมทั้งการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นและแสง คุณสมบัติของอุปกรณ์ ประกอบด้วย ระบบการแสดงผล/แจ้งเตือน และระบบการควบคุม ทั้งหมดสามารถใช้งานสั่งการผ่านแอปพลิเคชัน ประโยชน์ของระบบเกษตรแม่นยำ ผลผลิตมีคุณภาพดีสม่ำเสมอและปริมาณคงที่เนื่องจากมีเทคโนโลยีควบคุมกระบวนการเพาะปลูก ประมาณการผลผลิตได้ล่างหน้า สามารถลดปัญหาผลผลิตขาดแคลนหรือล้นตลาด ลดการใช้แรงงาน เหมาะกับอนาคตที่แรงงานขาดแคลน สามารถปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีโดยไม่พึ่งพิงฤดูกาล ใช้เทคโนโลยี Internet of Thing (IoT) ทำให้สะดวกเข้าถึงได้ง่าย การควบคุมกระบวนการเพาะปลูกทำได้รวดเร็วและง่ายขึ้น การถ่ายทอดองค์ความรู้การขยายผลสู่เกษตรกรรุ่นต่อไปเป็นไปได้ง่าย ลดเวลาการลองผิดลองถูก โดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวเชื่อมประสานการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทั้งหมดเหล่านี้ได้มีการวิจัยและพัฒนาโดยคำนึงถึงบริบทของเกษตรกรไทย คือ “ใช้งานง่าย ทนทาน และมีราคาที่จับต้องได้” รวมถึงอุปกรณ์ได้ออกแบบให้มีความทนทานเหมาะสมกับสภาวะทางการเกษตรของประเทศไทย โดยผ่านการทดสอบระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมจาถสถาบันที่ได้รับการยอมรับระดับประเทศ ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้ก่อให้เกิดการผลักดันนำไปสู่การขยายผลให้เกิดเป็นเทคโนโลยีแบบเปิดเพื่อเป็นประโยชน์สาธารณะ (Open Innovation Agriculture) มีการสร้างเครือข่าย… Continue reading เทคโนโลยีแบบเปิดเพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนด้วยนวัตกรรมระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)
กรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 18 มีนาคม 2564 : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมส่งเสริมการเกษตร จับมือ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค-สวทช. ประกาศเผยแพร่พิมพ์เขียวต้นแบบผลงานวิจัย HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ เพื่อประโยชน์สาธารณะ ร่วมกับพันธมิตร ประกอบด้วย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) จังหวัดฉะเชิงเทรา และ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ขับเคลื่อนสมาร์ตฟาร์มแบบเปิดสู่สังคมไทย ตั้งเป้าหมายให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ หรือผู้สนใจทั่วไปนำไปผลิตเพื่อใช้หรือจำหน่ายได้ ภายใต้แนวคิด Smart Farming Open Innovation หรือ นวัตกรรมแบบเปิด ซึ่งจะเป็นนวัตกรรมที่เปิดเผยรายละเอียดการผลิต และอนุญาตให้สาธารณะนำไปผลิตและใช้งานโดยไม่คิดค่าลิขสิทธิ์ (License Fee) และค่าตอบแทนการใช้สิทธิรายปี (Royalty Fee) โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรไทยยุคใหม่… Continue reading กระทรวงเกษตรฯ จับมือ เนคเทค-สวทช. ผนึกกำลังพันธมิตรเปิดพิมพ์เขียวระบบเกษตรอัจฉริยะ HandySense เพื่อประโยชน์สาธารณะ
วันที่ 18 มีนาคม 2564 : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมส่งเสริมการเกษตร จับมือ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค-สวทช. ประกาศเผยแพร่พิมพ์เขียวต้นแบบผลงานวิจัย HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ เพื่อประโยชน์สาธารณะ ร่วมกับพันธมิตร ประกอบด้วย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) จังหวัดฉะเชิงเทรา และ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ขับเคลื่อนสมาร์ตฟาร์มแบบเปิดสู่สังคมไทย ตั้งเป้าหมายให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ หรือผู้สนใจทั่วไปนำไปผลิตเพื่อใช้หรือจำหน่ายได้ ภายใต้แนวคิด Smart Farming Open Innovation หรือ นวัตกรรมแบบเปิด ซึ่งจะเป็นนวัตกรรมที่เปิดเผยรายละเอียดการผลิต และอนุญาตให้สาธารณะนำไปผลิตและใช้งานโดยไม่คิดค่าลิขสิทธิ์ (License Fee) และค่าตอบแทนการใช้สิทธิรายปี (Royalty Fee) โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรไทยยุคใหม่ ได้มีเครื่องมือที่ทันสมัย… Continue reading HandySense นวัตกรรมด้านการเกษตรแบบเปิด เพื่อประโยชน์สาธารณะ
กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร จับมือเนคเทค ธกส. และหน่วยงานพันธมิตร เผยแพร่พิมพ์เขียวระบบเกษตรอัจฉริยะ “HandySense” มุ่งพัฒนาการผลิต และคุณภาพสินค้า ยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรอย่างยั่งยืน ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานแถลงข่าว “โครงการความร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่” HandySense : Smart Farming Open Innovation ณ กรมส่งเสริมการเกษตร ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ ว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ธกส. และหน่วยงานพันธมิตร ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ คือ ระบบการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense) โดยการสร้างต้นแบบแปลงเรียนรู้การบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์ปฏิบัติการในสังกัดของกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 50 ศูนย์ พร้อมพัฒนาความรู้ทักษะในการบริหารจัดการให้แก่เกษตรกรต้นแบบ ใน ศพก. และเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อยกระดับเป็นวิทยากรเกษตรอัจฉริยะ รวมทั้งศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบอัจฉริยะ แล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรได้อย่างเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของชุมชน ซึ่งเชื่อมโยงนโยบายของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถาบันเกษตรกรและเศรษฐกิจฐานราก… Continue reading กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร จับมือเนคเทค ธกส. และหน่วยงานพันธมิตร เผยแพร่พิมพ์เขียวระบบเกษตรอัจฉริยะ “HandySense”
พิมพ์เขียวเกษตรอัจฉริยะใช้เงินทุนไม่เกิน 5 พันบาท – กรุงเทพธุรกิจ | 19 มี.ค. 2564 | หน้า 5 |โดย ยุพิน พงษ์ทอง กรุงเทพธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงทั้งสภาพอากาศ และเศรษฐกิจของโลกกำลังเป็นตัวผลักดัน ให้ภาคการเกษตรต้องปรับระบบการผลิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยต้องนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพให้สูงขึ้นในขณะที่โจทย์การ ทำต้นทุนการผลิตให้ลดลง พร้อมกับ การใช้เงินลงทุนที่ไม่สูงด้วย ทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธาน เปิดโครงการความร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่” HandySense : Smart Farming Open Innovation ว่า กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) ดีแทคและหน่วยงานพันธมิตร ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ คือ ระบบการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (Handy Sense) โดยการสร้างต้นแบบแปลงเรียนรู้การบริหารจัดการแปลงเกษตร ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์ปฏิบัติการในสังกัดของกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 50 ศูนย์ พร้อมพัฒนาความรู้ทักษะในการบริหารจัดการ… Continue reading พิมพ์เขียวเกษตรอัจฉริยะใช้เงินทุนไม่เกิน 5 พันบาท
ภาพข่าว: เกษตรอัจฉริยะ – ไทยรัฐ ( | 20 มี.ค. 2564 | หน้า 8 ทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แถลงข่าว โครงการความร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ Handy Sense : Smart Farming Open Innovation โดยกรมส่งเสริมการเกษตรกับเนคเทค ธ.ก.ส. เพื่อส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ คือ ระบบการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ณ กรมส่งเสริมการเกษตร ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ–จบ– –ไทยรัฐ () ฉบับวันที่ 20 มี.ค. 2564 (กรอบบ่าย)–
เนคเทค-สวทช. ได้วิจัยและพัฒนาระบบสมาร์ตฟาร์มที่ชื่อว่า “HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ” มาตั้งแต่ปี2560 ในระยะแรกได้มีการนำผลงานวิจัยไปขยายผลให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการ “ดีแทคฟาร์มแม่นยำ” ซึ่งเป็นการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง ดีแทค ร่วมกับ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ เนคเทค-สวทช. มีเป้าหมายการพัฒนาให้เกิดฟาร์มต้นแบบ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่ง (IoT) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และควบคุมคุณภาพการเพาะปลูก ซึ่งได้มีการทดลองใช้กับ 30 ฟาร์ม ใน 23 จังหวัด โดยการใช้อุปกรณ์ที่สำคัญประกอบด้วยกล่องเซนเซอร์ที่กระจายอยู่ในโรงเรือนเพาะปลูก ใช้สำหรับวัดความชื้นในดินและในอากาศ อุณหภูมิและแสง จากนั้นทำการประมวลผลแล้วส่งข้อมูลจากแปลงเพาะปลูกไปยังสมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตของเกษตรกรแบบ real-time เพื่อให้เกษตรกรสามารถควบคุมดูแลสภาพในแปลงเพาะปลูกได้อย่างใกล้ชิด และแก้ปัญหาได้หากเกิดเหตุการณ์ผิดปกติ จากจุดเริ่มต้นดังกล่าวทีมนักวิจัยของเนคเทค-สวทช. ได้เดินหน้าสู่การนำผลงานวิจัยและองค์ความรู้ของอุปกรณ์HandySense ไปขยายผลในหลายพื้นที่ อาทิ ในปี พ.ศ. 2562 โดยการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดฉะเชิงเทรา มีการขยายผลการใช้งานจริงในพื้นที่ทำการเกษตรปลอดภัยสูงหรือผักปลอดภัยให้กับเกษตรกรผู้สนใจใน 34 แห่ง ผลการดำเนินงาน พบว่าช่วยให้เกษตรกรสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของพืช ระบบใช้งานง่าย ทนทานราคาประหยัด สามารถลดการใช้แรงงานได้ประมาณ 50% มีรายได้จากการเพิ่มคุณภาพปริมาณผลผลิตและลดการใช้ทรัพยากรโดยเฉลี่ยอย่างน้อย 20% และในปีงบประมาณ 2564 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ขยายผลเพิ่มอีก 50 แห่ง โดยเป็นการมุ่งเน้นการควบคุมกระบวนการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญ ที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดฉะเชิงเทราให้ได้อย่างเหมาะสม ที่มา : HandySense นวัตกรรมด้านการเกษตรแบบเปิด เพื่อประโยชน์สาธารณะ (mcot.net)
HandySense ขับเคลื่อนสมาร์ทฟาร์มแบบเปิดสู่สังคมไทย ตั้งเป้าหมายให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ หรือผู้สนใจทั่วไปนำไปผลิตเพื่อใช้หรือจำหน่ายได้ ภายใต้แนวคิด Smart Farming Open Innovation หรือ นวัตกรรมแบบเปิด ซึ่งจะเป็นนวัตกรรมที่เปิดเผยรายละเอียดการผลิต และอนุญาตให้สาธารณะนำไปผลิตและใช้งานโดยไม่คิดค่าลิขสิทธิ์ (License Fee) และค่าตอบแทนการใช้สิทธิรายปี (Royalty Fee) โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรไทยยุคใหม่ ได้มีเครื่องมือที่ทันสมัย ใช้งานในราคาที่จับต้องได้ และต้องการให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือทางด้านสมาร์ทฟาร์มโดยผู้ประกอบการไทย เนคเทค-สวทช. ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์มที่ชื่อว่า “HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ” มาตั้งแต่ปี 2560 ในระยะแรกได้มีการนำผลงานวิจัยไปขยายผลให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการ “ดีแทคฟาร์มแม่นยำ” ซึ่งเป็นการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง ดีแทค ร่วมกับ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ เนคเทค-สวทช. มีเป้าหมายการพัฒนาให้เกิดฟาร์มต้นแบบ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่ง (IoT) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และควบคุมคุณภาพการเพาะปลูก ซึ่งได้มีการทดลองใช้กับ 30 ฟาร์ม ใน 23 จังหวัด โดยการใช้อุปกรณ์ที่สำคัญประกอบด้วยกล่องเซนเซอร์ที่กระจายอยู่ในโรงเรือนเพาะปลูก ใช้สำหรับวัดความชื้นในดินและในอากาศ อุณหภูมิ และแสง… Continue reading HandySense นวัตกรรมด้านการเกษตรแบบเปิด เพื่อประโยชน์สาธารณะ
กรมส่งเสริมการเกษตร จับมือเนคเทค ธ.ก.ส. และหน่วยงานพันธมิตร เดินหน้า “โครงการความร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่” HandySense : Smart Farming Open Innovation จัดทำต้นแบบแปลงเรียนรู้การบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ เป้าหมายจะดำเนินการ 16 จุด เป้าขยายผลให้ครบทั้ง 50 ศูนย์ปฏิบัติการภายในปี 2566 หวังพัฒนาการผลิต และคุณภาพสินค้า ยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรอย่างยั่งยืน ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานแถลงข่าว “โครงการความร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่” HandySense : Smart Farming Open Innovation ณ กรมส่งเสริมการเกษตร ว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณืการเกษตร ธ.ก.ส. และหน่วยงานพันธมิตร ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ คือ ระบบการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense) โดยการสร้างต้นแบบแปลงเรียนรู้การบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์ปฏิบัติการในสังกัดของกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 50 ศูนย์ พร้อมพัฒนาความรู้ทักษะในการบริหารจัดการให้แก่เกษตรกรต้นแบบ ใน ศพก.… Continue reading ก.เกษตรฯจับมือพันธมิตรเผยแพร่พิมพ์เขียวระบบเกษตรอัจฉริยะ “HandySense” หวังพัฒนาภาคเกษตรครบวงจร
ที่อยู่
ฝ่ายกลยุทธ์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี (SPD)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (ศอ.)
ติดต่อเรา
025646900 ต่อ 2353
https://www.nectec.or.th/innovation/
HandySense Community